ภาษาไทย Dansk                                                                                                               คณะกรรมการ Link

หน้าหลัก
ประวัติของสมาคม
ห้องสมุด
รูปภาพ
สมัครเป็นสมาชิก
ข่าวจากสถานเอกอัครราชทูต
Valutakurs
Vedtægter
Thai Festival


Click for Bangkok, Thailand Forecast








 

 

 

VEDTÆGTER FOR SAWASDEE THAI DANSK FORENING  

FORENINGENS NAVN OG FORMÅL

 § 1a               Navn

Siden 1985 har Foreningens navn været ”Sawasdee Thai-Dansk Forening for Jylland og Fyn”. På generalforsamlingen den 3. juni 2017 blev det vedtaget at ændre foreningens navn til ”SAWASDEE THAI DANSK FORENING”. Dens adresse er formandens. Formandens samt den øvrige bestyrelses adresser meddeles hvert år skriftligt efter generalforsamlingens afholdelse. 

§ 1b               Tegningsregler

Foreningen tegnes af den samlede bestyrelse eller 2 medlemmer heraf, hvoraf den ene altid skal være formanden. 

§ 2                 Formål

Foreningens formål er at lette thailændernes indpasning i det danske samfund, og bevaring af de thailandske kulturelle værdier. 

FORENINGENS MEDLEMMER 

§ 3                 Medlemmer

Som aktive medlemmer af foreningen kan optages private personer med direkte tilknytning til Thailand. Aktive medlemmer har fortrinsret til deltagelse i årsfesten.

Herudover kan optages som passive medlemmer personer, institutioner, virksomheder etc. med tilknytning til Thailand. 

Bestyrelsen afgør selv til enhver tid, hvem der kan optages som aktive eller passive medlemmer.

§ 4                 Indmeldelse, udmeldelse og udelukkelse

1. Indmeldelse i foreningen sker skriftligt til bestyrelsen, som træffer beslutning om optagelse.                     

2. Udmeldelse sker skriftligt til bestyrelsen med en måneds varsel til den 1. april, eller automatisk ved kontingentrestance. 

3. Udelukkelse af foreningen kan finde sted, når udelukkelse vedtages af bestyrelsen.  

Til udelukkelse kræves, at mindst 2/3 af bestyrelsens medlemmer har stemt herfor.

En af bestyrelsen foretagen udelukkelse, kan på det udelukkede medlems begæring forelægges på førstkommende ordinære generalforsamling, men udelukkelsen opretholdes medmindre den forkastes med mindst 2/3 af de på generalforsamlingen repræsenterede stemmer. 

§ 5                 Kontingent 

Det årlige kontingent for de forskellige medlemsgrupper, enkeltpersoner, samlevere, institutioner, virksomheder etc. og livsvarige medlemmer fastsættes på den ordinære generalforsamling ved almindelig stemmeflerhed.

Kontingentet gælder fra den 1. april til den 31. marts i det følgende år og opkræves i forbindelse med udsendelse af medlemsbladet Sawasdee Sarn. 

§ 6                 Kontingentfrie medlemmer 

a)     Thailands herværende øverste udsendte diplomatiske repræsentant er medlem af foreningen uden at erlægge kontingent.

b)      Æresmedlemmer og deres samlevere er kontingentfri medlemmer. 

§ 7                 Æresmedlemmer 

Æresmedlemmer kan optages på en ordinær generalforsamling, når mindst 4/5 af de afgivne stemmer erklærer sig herfor. Forslag om æresmedlemmers optagelse kan alene fremsættes af bestyrelsen. Sådanne forslag kan ikke gøres til genstand for diskussion på generalforsamlingen.  

BESTYRELSEN 

§ 8                 Bestyrelsesmedlemmer 

Foreningen ledes af en på generalforsamlingen valgt bestyrelse på 7 medlemmer

valgt for 2 år ad gangen. De fire er på valg i lige årstal og de tre i ulige årstal. 

Samlevende kan ikke begge være bestyrelsesmedlemmer.  Foreslås begge til bestyrelsen, udgår den med færrest antal stemmer.                     

Bestyrelsen konstituerer sig selv som følger, umiddelbart efter generalforsamlingen:

                      Formand

Næstformand

Kasserer

Sekretær

3 menige medlemmer

Bestyrelsen kan nedsætte arbejdsudvalg, hvortil ethvert medlem kan vælges. Bestyrelsen udpeger en koordinator for ethvert nedsat udvalg, og udvalgskoordinatoren kan inviteres til at deltage i bestyrelsesmøder, dog uden stemmeret.                                                      

 § 9                Afholdelse af bestyrelsesmøder 

Bestyrelsen afholder møde så ofte formanden finder det fornødent, eller når 2 bestyrelsesmedlemmer begærer det.

Bestyrelsen er beslutningsdygtig, når mindst 5 medlemmer er til stede.

Bestyrelsesbeslutninger med undtagelse af den i paragraf 4 omhandlede bestemmelse træffes ved almindelig stemmeflerhed blandt de tilstedeværende. I tilfælde af stemmelighed gør formandens (eller dennes stedfortræders) stemme udslaget.

Formand eller næstformand skal være til stede ved et møde.   

§ 10               Bestyrelsens administrative pligter 

Bestyrelsen drager omsorg for, at der føres protokoller m.v.:

1.    Generalforsamlingsprotokol, der kan kræves forelagt ethvert medlem

2.     Forhandlingsprotokol for bestyrelsesmøder

3.     Medlemsbog

4.     Kassebog

Desuden skal der opbevares

kopier af foreningens

korrespondance 

§ 11               Foreningens regnskabsår 

Foreningens regnskabsår løber fra 1. april til 31. marts.  Regnskabet revideres af en af den ordinære generalforsamling valgt revisor. 

 

GENERALFORSAMLINGEN 

§ 12               Generalforsamlingens kompetence 

Generalforsamlingen har med de af paragraf 4 følgende begrænsninger den højeste myndighed i alle foreningens anliggender.

Den ledes af en af generalforsamlingen udpeget dirigent. 

§ 13               Beslutningsdygtighed 

En lovlig indkaldt generalforsamling er altid beslutningsdygtig. 

§ 14               Afholdelse af ordinær generalforsamlin

Den ordinære generalforsamling afholdes hvert år, som udgangspunkt i forbindelse med foreningens sommerfest i pinsen, dog senest 30/9.

Der indkaldes med 30 dages varsel ved skriftlig meddelelse til de medlemmer, der er bosiddende i Danmark.

Indkaldelsen skal indeholde dagsorden for generalforsamlingen.

§ 15               Ekstraordinær generalforsamling 

Ekstraordinær generalforsamling afholdes, når bestyrelsen finder det fornødent, eller når mindst 15 medlemmer indgiver skriftlig begæring til bestyrelsen herom, med angivelse af dagsorden.

I sidste tilfælde sker indkaldelsen senest 4 uger efter begæringens modtagelse. 

§ 16               Generalforsamlingens dagsorden 

Dagsorden til den ordinære generalforsamling skal omfatte: 

1.     Valg af dirigent

2.     Valg af referent

3.     Bestyrelsens beretning om foreningens virksomhed i det forløbne år

4.     Fremlæggelse af årsregnskab til godkendelse for generalforsamlingen

5.     Fastsættelse af kontingent

6.     Fremlæggelse og godkendelse af budget

7.     Afstemning om indkomne forslag

8.     Valg til foreningens poster

8.1  Valg af bestyrelse

8.2  Valg af 2 suppleanter til bestyrelsen

Suppleanter vælges for 1 år ad gangen, men suppleanter indtræder i den periode som bestyrelsesmedlemmet de afløser er valgt for

8.3  Valg af 1 revisor

Revisor vælges for 1 år ad gangen

8.4  Valg af 1 revisorsuppleant

9.     Eventuelt 

§ 17               Forslag og beslutninger 

Forslag fra medlemmer, der ønskes behandlet på generalforsamlingen, skal fremsendes skriftligt til bestyrelsen senest 30 dage før generalforsamlingen. 

På generalforsamlingen kan alene træffes beslutning om de anliggender, der fremgår af den på indkaldelsen angivne dagsorden. 

Alle valg og beslutninger sker ved simpelt stemmeflertal, ved stemmelighed bortfalder forslaget. 

§ 18               Stemmeret 

På generalforsamlingen har hvert aktivt medlem, der giver møde 1 stemme.

Hver af de stemmeberettigede kan endvidere ifølge skriftlig fuldmagt afgive stemme for et enkelt fraværende medlem. 

§ 19               Ændring af vedtægter og opløsning af foreningen 

Foreningens vedtægter kan alene ændres, såfremt mindst ¾ af de på generalforsamlingen repræsenterede stemmer afgiver stemme for ændringen. 

Beslutning om foreningens opløsning kan kun finde sted på en, med en sådan dagsorden, og med 3 måneders varsel indkaldt ekstraordinær generalforsamling. Beslutningen er gyldig såfremt mindst ¾ af de repræsenterede stemmer afgiver stemme for opløsning.

Gen-/oversat til thai af Suphan Ruengkratok

Den 21. september 2021

ระเบียบการของสมาคมสวัสดีไทย / เดนมาร์ก

(สมาคมสวัสดีไทย เดนิช) 

ชื่อและจุดมุ่งหมาย 

มาตรา ๑ a ชื่อ

ชื่อของสมาคมคือ สมาคมสวัสดีไทย – เดนมาร์ก สาขา Jylland และ Fyn เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2560 สมาคมได้มีการประชุมสามัญใหญ่และได้ตกลงกันเปลี่ยนชื่อเป็น “สมาคมสวัสดีไทย เดนิช”
ที่ทำการของสมาคมฯ เป็นแห่งเดียวกับที่อยู่ของประธานกรรมการของสมาคมฯ ชื่อและที่อยู่ของคณะกรรมการ จะต้องแจ้งให้แก่บรรดาสมาชิกทราบเป็นลายอักษร ทุกๆครั้งหลังจากเสร็จสิ้นของการประชุมสามัญใหญ่

 

มาตรา ๑b ระเบียบการวินิจฉัยลงนาม

คณะกรรมการของสมาคมทุกคน หรือ ๒ คนที่ถูกรับเลือกอยู่ในคณะกรรมการ คือตัวแทนและเป็นผู้มีสืทธิ์ตัดสิน หรือตกลงเกี่ยวกับสมาคมฯ ซึ่งในจำนวนนี้จะต้องมีประธานร่วมอยู่ด้วย

 

มาตรา ๒ จุดประสงค์

จุดมุ่งหมายของสมาคมคือ เพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนชาวไทยที่มีภูมิลำเนาในประเทศเดนมาร์ก ในการที่จะปรับตัวให้เข้ากับสังคมและวัฒนธรรมของชาวเดนมาร์ก และในขณะเดียวกันก็รักษาใว้ซึ่งวัฒนธรรมอันดีของไทย

 สมาชิกของสมาคมฯ

มาตรา ๓          สมาชิกภาพ

สมาชิกสามัญได้แก่ บุคคลชาวไทยหรือผู้ที่มีความสัมพันธ์กับประเทศไทย สามารถเข้าสมัครเป็นสมาชิกของสมาคมได้ สมาชิกสามัญมีสิทธิ์ลำดับแรกที่จะเข้าร่วมงานสังสรร์ประจำปี

นอกจากสมาชิกสามัญแล้ว ทางสมาคมยังมีสมาชิกวิสามัญ ได้แก่บุคคล บริษัทห้างร้าน สถาบัน และสมาคมต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กับประเทศไทย 

คณะกรรมการบริหารของสมาคมฯเป็นผู้มีสิทธิ์พิจจารณาในการที่จะรับผู้สมัครเข้าเป็นสมาชิกสามัญหรือวิสามัญ

 

 

มาตรา ๔     การสมัครเข้าเป็นสมาชิก, การลาออกจากการเป็นสมาชิกภาพของสมาคม และ การปลดออกไม่อนุญาตให้เข้าเป็นสมาชิก

ก.    การสมัครเข้าเป็นสมาชิก ให้ยื่นใบสมัครเป็นลายอักษรโดยตรงต่อคณะกรรมการ คณะกรรมการเป็นผู้พิจจารณา และเป็นผู้มีมติตัดสินในการรับสมาชิกใหม่

ข.    การลาออกจากสมาชิก ให้ยื่นใบลาเป็นลายอักษรต่อคณะกรรมการอย่างน้อยหนึ่งเดือนก่อนวันกำหนดลาออก และวันกำหนดลาออกคือวันที่ ๑ เมษายน

ค.    การปลดออกจากสมาชิกภาพของสมาคมฯ จะทำได้ เมื่อคณะกรรมการได้รับการเห็นด้วยพร้อมเพรียงกันเมื่อสมาชิกค้างค่าเป็นสมาชิกภาพเป็นระยะเวลาต่อเนื่องกัน ๑ ปี 

เมื่อคณะกรรมการมีจำนวนอย่างน้อยเศษสองส่วนสามมีมติให้ปลดออก

หนึ่งในคณะกรรมการดำเนินการเกี่ยวกับสมาชิกผู้ที่ถูกทางคณะกรรมมีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพ สมาชิกนี้สามารถยื่นคำร้องเรียนต่อที่การประชุมสามัญใหญ่ในครั้งที่กำลังจะมาถึง ยกเว้นแต่ว่าสมาชิกภาพจะได้กลับคืน ก็ต่อเมื่อมีเสียงยืนยันปฏิเสธอย่างน้อยที่สุดเศษสองส่วนสามคะแนนเสียงรับรองของสมาชิกในองค์ประชุมที่เข้าประชุมสามัญใหญ่

 

มาตรา ๕ เงินค่าบำรุงเป็นสมาชิกของสมาคมฯ

ที่ประชุมสามัญใหญ่เป็นผู้กำหนดอัตราค่าสมาชิกและเงินค่าบำรุงสมาคมฯแต่ละปี สำหรับกลุ่มสมาชิกต่างๆ เช่น บุคคล. ผู้ที่สมสู่อยู่กินด้วยกัน. สถาบันต่างๆ. บริษัท ฯลฯ และสมาชิกตลอดชีพ โดยคะแนนเสียงส่วนใหญ่

เงินค่าสมาชิกใช้ได้ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน ถึงวันที่ ๓๑ มีนาคมของปีต่อไป แบบฟอร์มใบโอนเงินจะแนบให้ในสวัสดีสาร        

 

 

 

มาตรา ๖ สมาชิกผู้ไม่เรียกเก็บค่าบำรุง

ก.    ผู้แทนทางการทูต เอกอัครราชทูตไทยประจำในประเทศเดนมาร์ก และข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ให้เป็นสมาชิกของสมาคมฯ โดยไม่เรียกร้องเก็บค่าบำรุงสมาชิก

ข.    สมาชิกกิตติมศักดิ์และคู่สมรสของเขา

 

มาตรา ๗       สมาชิกกิตติมศักดิ์

การแต่งตั้งสมาชิกกิตติมศักดิ์นั้น จะต้องมีคะแนนเสียงอย่างน้อยเป็นจำนวนเศษสี่ส่วนห้าขององค์ประชุมสามัญใหญ่ลงมติรับรองคณะกรรมการของสมาคมฯ ข้อเสนอเกี่ยวกับการแต่งตั้งสมาชิกกิตติมศักดิ์นี้ ทางคณะกรรมการสามารถเสนอรายชื่อดังกล่าวได้ โดยไม่ต้องมีการอภิปรายหรือถกเถียงในที่ประชุม

  

คณะกรรมการบริหาร

 

มาตรา ๘     การเลือกคณะกรรมการ

คณะกรรมการบริหารจะต้องเลือกตั้งจากองค์ประชุมสามัญใหญ่ โดยมีผู้นำการประชุม ๑ ท่าน คณะกรรมการบริหารมีจำนวน ๗ นาย/นาง และจะต้องเลือกตั้งสมาชิกคณะกรรมการบริหารใหม่ทุกๆ ๒ ปี ในปีที่เลขท้ายเป็นเลขคู่ จะต้องเลือกตั้ง และกรรมการ ๔ คนก็ครบภาระ และจะต้องลาออก ในปีที่เลขท้ายเป็นเลขคี่จะต้องเลือกตั้ง และกรรมการ จำนวน ๓ คน จะต้องลาออก

สามีและภริยา หรือคู่ครองชีวิตร่วมกัน จะเป็นกรรมการพร้อมกันในสมัยเดียวกันไม่ได้ ถ้าหากว่าทั้งคู่เสนอจะเข้าเลือกอยู่ในคณะกรรมการ ผู้ที่มีคะแนนน้อยกว่าจะไม่มีสิทธิ์เข้า

 

คณะกรรมการจัดการประชุมขึ้นมาเพื่อคัดเลือกบุคคลขึ้นมาเป็นตัวแทนทำงานในหน้าที่อื่นๆ ทันทีทันใดหลังจากการเสร็จสิ้นการประชุมสามัญใหญ่ ดังต่อไปนี้

ประธาน

                      รองประธาน

                      เหรัญญิก

                      เลขานุการ

สมาชิกคณะกรรมการ ๓ ท่านที่ไม่มีตำแหน่งหรือบทบาทเด่น

คณะกรรมการสามารถแต่งตั้งคณะกรรมาธิการ ซึ่งสมาชิกทุกคนมีสิทธิ์เลือกได้ คณะกรรมการเสนผู้ประสาน งานของทุกหน่วยที่ตั้งขึ้น และผู้ประสานงานที่ถูกรับเลือก สามารถเชิญเขาเหล่านี้เข้าร่วมในการประชุมของคณะกรรมการได้ แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงลงคะแนน

 

 

มาตรา ๙    การประชุมของคณะกรรมการ

การประชุมของคณะกรรมการนั้น ประธานฯเป็นผู้กำหนดได้ทุกเวลา เมื่อเห็นว่าจำเป็นจะต้องประชุมกัน หรือถ้ามีกรรมการจำนวน ๒ คนยื่นข้อเสนอต่อคณะกรรมการ

การลงมติใดๆของคณะกรรมการ จะต้องมีกรรมการอย่างน้อย ๕ คนร่วมอยู่ในองค์ประชุม จึงจะถือว่าเป็นมติที่รับรอง เป็นมติที่ถูกต้องตามระเบียบการของสมาคมฯของการลงมติ ยกเว้นมาตรา ๔ และให้ถือเอาคะแนนเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ ในกรณีที่คะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานฯ (หรือผู้ทำการแทน) เป็นผู้ชี้ขาด

ประธานฯ หรือรองประธานฯจะต้องเข้าประชุมทุกครั้ง

 

 

 

มาตรา ๑๐

หน้าที่สารบรรณ และการบัญชีของคณะกรรมการ

คณะกรรมการจะต้องดูแล รับผิดชอบว่า ทุกอย่างจะต้องบันทึก เก็บรักษาในเอกสารผลการประชุมทุกครั้ง เช่น..

๑.   จะต้องบันทึกรายงานของการประชุมสามัญใหญ่ทุกครั้งที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจจะต้องนำเสนอต่อบรรดาสมาชิก เพราะว่าทุกคนมีสิทธิ์ที่จะขอดูหรืออ่านรายงานนี้

๒.   บันทึกการเจรจา การตกลงของคณะกรรมการทุกครั้ง

๓.   ทำทะเบียนสมาชิก

๔.   ทำบัญชี

นอกเหนือจากนี้ คณะกรรมการจะต้องเก็บรักษาสำเนาการติดต่อต่างๆใว้

 

 

มาตรา ๑๑ การบัญชีประจำปีของสมาคมฯ

การบัญชีของสมาคมฯ นับจากวันที่ ๑ เมษายน ถึง วันที่ ๓๐ มีนาคม (ปีที่ตั้งสมาคมฯครั้งแรกนับจากวันที่ ๑ เมษายน ๑๙๘๕ ถึง วันที่ ๓๑ มีนาคม ๑๙๘๖) บัญชีของสมาคมจะต้องได้รับการตรวจสอบจากผู้ตรวจสอบบัญชี ซึ่งเป็นผู้ที่ทางองค์ประชุมสามัญใหญ่เป็นผู้เลือกตั้งขึ้น

 

การประชุมสามัญใหญ่ในรอบปี

มาตรา ๑๒      อำนาจขององค์ประชุมใหญ่

อำนาจในการลงมติต่างๆ (นอกเหนือจากอำนาจที่กำหนดใว้ในมาตรา ๔) ขององค์ประชุมสามัญใหญ่ เป็นอำนาจและมติที่สูงสุดของสมาคมฯ 

ประธานหรือผู้บัญชาขององค์ประชุมสามัญใหญ่คือบุคคลที่ได้รับเลือกตั้งจากองค์ประชุมใหญ่

 

มาตรา ๑๓        อำนาจในการลงมติ

มติต่างๆที่ได้รับการรับรองจากองค์ประชุมสามัญใหญ่ ถือว่าเป็นมติที่ถูกต้องตามระเบียบการของสมาคมฯ จะขัดแย้งไม่ได้

 

มาตรา ๑๔   การกำหนดเวลาการประชุมสามัญใหญ่ในรอบปี

การประชุมสามัญสามัญจัดขึ้นทุกปี โดยเป็นจุดเริ่มต้นที่เกี่ยวข้องกับงานสังสรรค์ประจำปีของสมาคมในวันเพ็นเทคอสต์ แต่ไม่ช้ากว่า 30/9

การประกาศเกี่ยวกับการประชุมฯ จะต้องประกาศล่วงหน้า ๓๐ วัน เป็นลายลักษณ์อักษรถึงสมาชิกที่มีภูมิลำเนาในประเทศเดนมาร์กเท่านั้น

การเรียกประชุม จะต้องแจ้งระเบียบวาระของการประชุมฯ

 

 

มาตรา ๑๕      การประชุมวิสามัญ

การประชุมนี้จะกระทำได้ก็ต่อเมื่อคณะกรรมการมีมติหรือสมาชิกจำนวน ๑๕ นาย/นาง ยื่นความจำนงเป็นลลายอักษรต่อคณะกรรมการ และความจำนงนี้จะต้องแจ้งระเบียบวาระของการประชุมในกรณีย์หลังนี้ จะต้องประกาศการประชุมภายในเวลา ๔ สัปดาห์ หลังจากได้รับหนังสือขอเปิดการประชุม

 

 

มาตรา ๑๖      หัวข้อการเสนอญัตติหรือระเบียบวาระของการประชุมสามัญใหญ่ในรอบปีของสมาคม

ระเบียบวาระของการประชุมนี้ประกอบด้วย

๑.    การเลือกตั้งผู้บัญชาดำเนินงานในองค์การประชุมสามัญใหญ่

๒.    การเลือกตั้งคนจดรายงานการประชุม

๓.    รายงานของคณะกรรมการเกี่ยวกับกิจกรรมของสมาคมฯในรอบปี

๔.    การนำเสนองบการเงินต่อที่ประชุม เพื่ออภิปรายและลงมติ

๕.   การกำหนดค่าสมาชิก และค่าบำรุงสมาคมฯ

๖.   การนำเสนอแผนการและการอนุมัติงบประมาณ

๗.   ข้อเสนอที่ได้รับจากการลงคะแนนเสียง

๘.   การเลือกตั้งตำแหน่งหน้าที่ของสมาคมฯ

๘.๑     การเลือกตั้งคณะกรรมการ

๘.๒     การเลือกตั้งตัวแทนคณะกรรมการ ๒ คน

ตัวแทนคณะกรรมการเลือกปีละครั้ง แต่ตัวแทนคณะกรรมการเข้าไปแทนกรรมการได้ใช่วงระยะเวลาที่เขถูกลาออกในวาระ

           ๘.๓         การเลือกตั้งผู้ตรวจสอบบัญชี ๑ คน

                           ผู้ตรวจสอบบัญชีเลือกปีละหนึ่งครั้ง

           ๘.๔         การเลือกตั้งตัวแทนผู้ตรวจสอบบัญชี

๙.    อื่นๆ

      

 

 

มาตรา ๑๗  การเสนอญัตติและการลงมติ

ข้อเสนอญัตติจากสมาชิกเพื่ออภิปรายและลงมติในองค์ประชุมสามัญใหญ่ จะต้องเสนอเป็นลายลักษณ์อักษรต่อคณะกรรมการ อย่างช้าที่สุด ๓๐ วัน ก่อนวันก่อนมีการประชุมสามัญใหญ่

ในที่ประชุมสามัญใหญ่ จะมีอำนาจในการลงมติ และสามารถเป็นผู้ตัดสินในประเด็น เฉพาะข้อเสนอที่ระบุใว้ในระเบียบวาระของการประชุมเท่านั้น

ทุกอย่างที่เลือกและการตัดสิน เกิดขึ้นได้ง่ายๆโดยเสียงข้างมาก เมื่อคะแนนเสียงเสมอกันข้อเสนอก็จะเป็นโมฆะ

 

 

มาตรา ๑๘   สิทธิในการออกเสียงลงคะแนน

ทุกๆคนที่เป็นสมาชิกสามัญที่เข้าประชุม มีสิทธิ์ในการออกเสียงลงคะแนนเพียง ๑ เสียง/คะแนนเท่านั้น

ผู้ที่มีสิทธิ์ในการนี้ จะมอบสิทธิ์ของตนเองเป็นลายอักษรให้กับสมาชิกสามัญแทนตนได้ ในกรณีย์ที่เมื่อตนเองไม่สามารถที่จะใช้สิทธิ์นี้ด้วยตนเองในวันเลือกตั้ง

 มาตรา ๑๙ การแก้ไขระเบียบการและการยุบเลิกสมาคมฯ

ระเบียบการของสมาคมฯ จะแก้ไขเพิ่มเติมได้ก็ต่อเมื่อ จำนวนเศษสามส่วนสี่ (¾) ของสมาชิก ที่เข้าประชุมสามัญใหญ่ลงมติรับรองการยุบเลิกของสมาคมฯ

จะทำได้ก็ต่อเมื่อมีการประชุมวิสามัญ และระเบียบวาระในการประชุมนั้นก็เพื่อยุบเลิกสมาคมฯ

 

การประกาศตัดสินยุบเลิกสมาคมฯนี้ จะต้องส่งหมายประกาศอย่างน้อย ๓ เดือนก่อนวันประชุมวิสามัญ

การยุบเลิกนี้ จะต้องมีสมาชิกจำนวน เศษสามส่วนสี่ ของจำนวนสมาชิกที่เข้าประชุม ลงมติรับรองเกี่ยวกับการยุบเลิกสมาคมฯ

แปลใหม่/แปลเป็นไทยโดย สุพรรณ เรืองกระโทก

วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2564

Sawasdee Thai-Dansk Forening, Parkvej 26, 5492 Vissenbjerg. e-mail: info@thai-dansk.dk